วันจันทร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2555

ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
-รูปแบบเทคโบโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน
-พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
-การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน
IT : Information Technrlogy
CT : Communic ation Technrlogy
ICT : Information

ประโยชน์เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน
 เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งานได้เป็น 6 รูปแบบ ดังต่อไปนี้คือ
1 เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ดาวเทียมถ่ายภาพทางอากาศ กล้องดิจิทัล กล้องถ่ายวีดีทัศน์ เครื่องเอ็กซเรย์
2 เทคโนโลยีในการบันทึกข้อมูล
เป็นสื่อบันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก จานสีหรือจานเลเซอร์ บัตรเอทีเอ็ม
3 เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูลได้แก่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ทั้งฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์
4 เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์จอภาพ
5 เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องถ่ายไมโครฟิล์ม
6 เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูลได้แก่ระบบโทรคมนาคมต่างๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง เทเล็กซ์ และระบบคอมพิวเตอร์ใกล้และไกล

ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร
        การแสดงออกทางความคิดและความรู้สึกในการใช้รูปแบบของเทคโนโลยีทุกประเภทที่นำมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บสร้างและเผยแผ่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆได้แก่ ภาพ ข้อความ หรือ ตัวอักษร ตัวเลข และภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
                  การใช้อินเตอร์เน็ต
งานวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนักศึกษาในสถาบันศึกษาพบว่า
          นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อความบันเทิง เนื่องจากเห็นว่ามีความสะดวกในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น ในขณะที่การใช้อินเตอร์เน็ตของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาส่วนใหญ่ใช้เพื่อการเรียนรู้ การติดต่อสื่อสารของสถานศึกษา

สถานที่ที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้คอมพิวเตอร์ที่บ้าน และมีการใช้อินเตอร์เน็ตที่ห้องสมุดของสถาบัน นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีการใช้หรือมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศน้อย ได้แก่ ฐานข้อมูลอิเล็กเทอนิกส์ การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ E-Learning  วีดีทัศน์ตามอัธยาศัย Video on Demand

การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการสืบค้น ค้นหา หรือดึงข้อมูล และสารสนเทศเฉพาะเรื่องที่ผู้ใช้ระบุ แหล่งรวบร่วมสารสนเทศไว้เป็นจำนวนมาก เพื่อประโยชน์ด้านต่างๆ เช่นการศึกษาเป็นต้น

วัตถุประสงค์ในการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
1 เพื่อทราบถึงรายละเอียดของข้อมูล
2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการศึกษาหรือการทำงาน
3 เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้กับตนเองและผู้อื่น
4 เพื่อตรวจสอบข้อมูล
5 เพื่อการนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

Searh Engine
Searh Engine หมายถึง เครื่องมือหรือเว็บไซต์ ที่อำนวยความสะดวกในการสืบค้นข้อมูล และข่าวสารให้แก่ผู้ใช้อินเตอร์เน็ต

ความหมายของเครื่องช่วยค้นหา
คือ เครื่องมือหรือเว็บไซต์ที่ช่วยอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลและข่าวสาร ที่อยู่ของเว็บไซต์ Address ต่างๆในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

อิเด็กเซอร์ Indexers
Search Engines แบบอินเด็กเซอร์จะมีโปรแกรมช่วยจัดการหาข้อมูลในการค้นหา หรือที่เรียกว่า Robot วิ่งไปมาในอินเตอร์เน็ตโดยอัตโนมัติเพื่ออ่านข้อมูลจากเว็นเพจ Web Pages ต่างๆทั่วโลกมาจัดทำเป็นฐานข้อมูลไว้ โดยจะใช้อิเด็กซ์ Index ค้นหาจากข้อความในเว็บเพจที่ได้สำรวจมาแล้ว
ตัวอย่างของเว็บไซตืที่ให้บริการ
http://www.altavista.com
http://www.hotbot.com
http://www.webcrawler.com


วันอังคารที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2555


ความรู้พื้นฐาน
สารสนเทศ หมายถึง ข่าวสารที่สำคัญเป็นระบบข่าวสารที่กำหนดขึ้น และจัดทำขึ้นภายในองค์การต่างๆตามความต้องการของเจ้าของหรือผู้บริหารองค์กรนั้นๆ
สารสนเทศ ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า Information หมายถึงความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า สารสนเทศเป็นความรู้และข่าวสารที่สำคัญที่มีลักษณะพิเศษทั้งในด้านการได้มาและประโยชน์การนำไปใช้ปฏิบัติ
 สารสนเทศ มีความหมายที่ได้มีการให้คำจำกัดความที่ใกล้เคียงกันดังนี้
สารสนเทศ หมายถึงข้อมูลทั้งด้านปริมาณและด้านคุณภาพที่ประมวลจัดหมวดหมู่เปรียบเทียบและวิเคราะห์แล้วสามารถนำมาใช้ได้หรือนำมาประกอบการพิจารณาได้สะดวกกว่าและง่ายกว่า
เทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร
เทคโนโลยีสารสนเทศหรือ ไอที IT
เป็นเทคโนโลยีที่มีความสำคัญต่อสังคมในปัจจุบันมีความเกี่ยวข้องกับการจัดเก็บการประมวลผลและการแสดงผลสารสนเทศ
1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ถือเป็นเทคโนโลยีหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคปัจจุบันเนื่องจากคอมพิวเตอร์มีคุณสมบัติด้านการบันทึก การจัดเก็บ การประมวลผล การแสดงผล และการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์แบ่งเป็นเทคโนโลยีย่อยที่สำคัญได้ 2 ส่วน
1เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ทุกชนิดที่ประกอบขึ้นเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ที่ต่อพ่วงเพื่อเชื่อมโยงจำนวนที่ต้องการทำงานออกเป็น4ส่วนคือ
1 หน่วยรับข้อมูล
2หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู Central Proeossing Unit
3หน่วยแสดงผลข้อมูล Output Unit
4หน่วยความจำสำรอง Secondary Storage Unit
2เทคโนโลยีซอฟแวร์ Software
หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ผู้ใช้ต้องการ
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์แบ่งเป็น2ประเภทคือ
1ซอฟต์แวร์ระบบ System Software
หรือชุดคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ทำงานตามคำสั่ง
2ซอฟต์แวร์ประยุกต์ Application Software
คือชุดคำสั่งที่ผู้ใช้ส่งเข้าสู้เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำตามผู้ใช้ต้องการ
2 เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม
หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกันทั่วไป เช่น ระบบโทรศัพท์ ระบบดาวเทียม ระบบเครือข่ายเคเบิล  และระบบสื่อสารอื่นๆที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกัน
ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
-แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับที่4 2520-2524การมีส่วนร่วมของสารสนเทศเพื่อการศึกษา
-มีการจัดตั้งศูนย์ประสารงานและปฏิบัติการของระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษาขึ้น
-ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่8ก็ได้มีการเห็นความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษามากขึ้น
-ในแผน มีการจัดทำแผนหลักเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการศึกษา
แผนพัฒนา ข้างต้นทำให้เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสำคัญต่อวงการศึกษาของประเทศมากขึ้นจะทำให้การศึกษาของชาติมีความเท่าเทียมทั่วถึงมีคุณภาพ และมีความต่อเนื่อง ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยการประยุกต์ใช้เทศโนโลยีสารสนเทศอย่างคุ่มค่า
พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
ยุคที่1การประมวลผลข้อมูล มีวัตถุประสงค์เพื่อการคำนวลและการประมวลผลข้อมูลของรายการประจำ Transaction Processing เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร
ยุคที่2ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการมีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการตัดสินใจควบคุมดำเนินงานของผู้บริหารระดับต่างๆ
ยุคที่3การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ มีการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อเรียกใช้สารสนเทศที่จะช่วยในการตัดสินใจนำหน่วยงานไปสู้ความสำเร็จ Knowledgi Bared Society ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้
ยุคที่4ยุคปจจุบันหรือเทคโนโลยีสารสนเทศ
มีการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และระบบการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นเครื่องมือช่วยในการจัดทำระบบสารสนเทศ และเน้นความคิดของการให้บริการสารสนทศแก่ผู้ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นวัตถุประสงค์สำคัญ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
1ให้ความรู้ทำให้เกิดความคิดและเข้าใจ
2ใช้ในการวางแผนการบริหารงาน
3ใช้ประกอบการตัดสินใจ
4ใช้ในการควบคุมสถานการณ์
5เพื่อให้การบริหารงานมีระบบ
สรุป
การนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ในการศึกษามีปริมาณที่เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการแพร่กระจายอย่างรวดเร็วของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่างๆเช่น ดาวเทียมสื่อสาร ใยแก้วนำแสง อินเทอร์เน็ต ก่อให้เกิดระบบคอมพิวเตอร์สำหรับการบริหารงานในสถานศึกษาด้านต่างๆเช่นระบบบริหาร จัดการห้องสมุด และระบบคอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษายังช่วยให้เกิดการลดการเหลื่อมล้ำของโอกาสทางการศึกษา เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ทางด้านเทคโนโลยี

วันจันทร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2555

    กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย
ซอฟต์แวรืกลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟฟิกและมัลติมีเดีย เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเครื่อนไหว และการสร้างและออกแบบเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น
โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ  Microsoft Visio Professional
ปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิCorelDRAW,Adobo Photoshop
โปรแกรมตัดต่อวีดีโอและเสียง อาทิ Adobo Premiere,Pinnacle DV
โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมีเดีย อาทิ  Adobo  Authorware, Toolbook Instructor, Adobo Director
โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobo Flash, Adobo Dreamweaver
กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
เมื่อเกิดการเติบโดของอินเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ได่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมการตรวจเช็คอีเมลการท่องเว็บไซต์ การจัดการดูแลเว็บและการส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างโปรแกรมกลุ่มนี้ได้แก่:
โปรแกรมจัดการอีเมล อาทิ Microsoft Outlook,Mozzila Thunderbird
โปรแกรมทองเว็บ อาทิMicrosoft Internet Explorer,Mozzila Firafox
โปแกรม ประชุมทางไกล อาทิVideo Conference อาทิ Microsof etm
โปรแกรมส่งข้อความด่วน Instsnt Messaging vkmb MSN Messager/Windows Messager,ICQ
โปรแกรมสนทนาบนอินเตอร์เน็ต อาทิ PIRCH,MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่าภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้งานการคำนวณทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้าน
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานด้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเติร์รับรู้ และปฎิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์

ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง (MachineLanguages)
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข0และ1ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข0และ1 นี้เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้สั่งงาน คอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาคอมพิวเตอร์ในรุปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร
ภาษาแอสเซมบลี
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่2ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลีช่วยลดความ


ภาษาระดับสูง (High-Level languages)
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่3เริ่มมีการใช้ยุคคำส่งที่เรียกว่าStatementsที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งให้คอมพิวเตอรืทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป้นภาเครื่องนั้นมีอยู่2ชนิด ด้วยกันคือ
คอมไพเลอร์ Compiler และ อินเทอร์พรีเตอร์ Interpreter
คอมไพเลอร์ จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูง ทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
อินเทอร์พรีเตอร์ จะทำการแปลทีละคำสั่งแล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำแปลคำสั่งลำดับต่อไป ข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอรพรีเตอร์จึงอย่ที่การแปลทั้งโปรแกรมหรือแปลทีละคำสั่ง
   ชนิดของระบบปฎิบัติการจำแนกตามการใช้งาน
สามารถจำแนกออกเป็น3ชนิดด้วยกันคือ
1.ประเภทใช้งานเดียว (Siug-tasking)
ระบบปฎิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น ใช้ในเครื่องขนานเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฎิบัติการดอส เป็นต้น
2.ประเภทใช้หลายงาน (multi-tasking)
ระบบปฎิบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกันผู้ใช้สามารถทำงานกับซอฟแวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน เช่น ระบบปฏิบัติการ วินโดวส์ 98 windows 98 ขึ้นไป และ UNIX เป็นต้น
3.ประเภทใช้งานหลายคน ( Multi - user )
ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนานใหญ่ทำหน้ามี่ประมวลผลทำให้ขนานใดขนานหนึ่งมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน แต่ละคนจะมีสถานีงานของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์จึงต้องใช้ระบบปฎิบัติการที่มีความสามารถสูง เพื่อให้ผู้ใช้ทุกคนสาม่รถทำงานเสร็จในเวลา เช่น ระบบปฎิบัติการ windows NI และ UNIX เป็นต้น

2.ตัวแปรภาษาการพัฒนาซอฟต์แวร์ต้องอาศัยซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปรภาษาระดับสูงเพื่อแปรภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสังได้ง่าย เข้าใจได้ และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ในภายหลังได้
ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปรภาษาซึ่งภาษาระดับสูง ได้แก่ ภาษา basic, pascal ,c และภาษาโลโก เป็นต้น
นอกจากนี้ ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมากได้แก่ Fortran, cobol และภาษาอาร์พีจี

               2.2ซอฟต์แวร์ประยุกต์  (Application Software)

ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์ร่ยงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบ เว็บไซต์ เป็นต้น

ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิต จำแนกได้เป็น2ประเภท คือ
1.ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ Proprietary Software
2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป Packaged Software
มีทั้งโปรแกรมเฉพาะCustomized Package และ โปรแกรมมาตรฐาน Standard Package

             แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน จำแนกได้3กลุ่มใหญ่ๆดังนี้

1.กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ (Business)
2.กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกและมตัลติมีเดีย(Graphic and Multmedia)
3.กลุ่มการใช้งานบนเว็บ(Web and Communications)

             กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ (Business)

ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์รายงานเอกสาร นำเสนองานและการบันทึกนัดหมายต่างๆตัวอย่าวเช่น :
โปรแกรมประมวลคำ อาทิ Microsoft Word,Sun Staroffce Writer
โปรแกรม ตารางคำนวณ อาทิ Microsoft Excel,Sun Staroffice Cals
โปรแกรมนำเสนองาน อาทิ Microsoft PowerPoint,Sun Staroffce

วันจันทร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

หน่วยที่4

                                                                หน่วยที่4
         ซอฟต์แวร์ (Software)
ซอฟต์แวร์ คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรมนำมารวมกันให้สามารถทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ตามที่ต้องการ เรามองไม่เห็นหรือสัมผัสไม่ได้แต่เราสามารถสร้าง จัดเก็บ และนำมาใช้งานหรือเผยแพร่ได้ด้วยสื่อหลายชนิดเช่น แผ่นบันทึก แผ่นซีดี แฟล็ชไดร์ฟ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น

            หน้าที่ของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์ เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะได้เลย ซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท
ประเภอของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์แบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆคือ
ซอฟต์แวร์ระบบ (Sustem Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
และซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ
1.ซอฟต์แวร์ระบบ (Sustem Software)
ซอฟต์แวร์ระบบเป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นเพื่อใช้จัดการกับระบบ หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบ คือ ดำเนินงานพื้นฐานต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผนแป้นอักขระแล้วแปรความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูบไปแสดงผลบนจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์ จัดการข้อมูลในระบบข้อมูลบนหน่วยความจำรอง

         ซอฟต์แวร์ระบบ (Sustem Software)
(Sustem Software) หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows ,Unix ,Linux รวมทังโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic ,Fortran ,Pascal ,Cobol ,C เป็นต้น
นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton's Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน
หน้าที่ของระบบซอฟต์แวร์ระบบ
1.) ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก เช่น รับรู้การกดแป้นต่างๆบนแผนแป้นอักขระ ส่งระหรัสด้วยอักษรออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ ติดตอกับอุปกรณ์รับเข้าและส่งออกอื่นๆ เช่น เมาร์ ลำโพงเป็นต้น
2.)ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจำหลัง หรือในทำนองกลับกัน คือนำข้อมูลจากหน่วยความจำหลังมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก
3.)ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น การขอดูรายการในสารระบบ ( Directory )ในแผ่นบันทึก การทำสำเนาแฟ้มข้อมูล
ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป็นระบบปฎิบัติการ และ ตัวแปรภาษา

          ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
1.ระบบปฏิบัติการ (Operating System : os)
2.ตัวแปลภาษา

1.ระบบปฎิบัติการ หรือที่เรียกย่อๆ ว่า โอเอส ( Operating System; os) เป็น
ซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฎิบัติการนี้ ระบบปฎิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดีเช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกซ์ ลีนุกซ์
และแมคอินทอช เป็นต้น

        1.ระบบปฏิบัติการ (Operating System : os)
1.)ดอส (Disk Operating System;Dos) เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามาแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในอดีต ปัจจุบันระบบปฎิบัตืการดอสนั้นมีการใช้งานน้อยมาก
2.)วินโดวส์ (Windows) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจากดอส โดยให้ผู้ใช้สั่งงานได้จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระเพียงอย่างเดียวนอกจากนี้ระบบปฎิบัติการวินโดวส์ยังทำงานหลายงานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้เพื่อเลื่อนตำแหน่งที่ปรากฎบนจอภาพ ทำให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่ายระบบปฎิบัติการวินโดวส์จึงได้รับความนิยมอย่างมากในปจจุบัน
3.) ยูนิกต์ (Unix) เป็นระบบปฎิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบปฎิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบปฎิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด (open system) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ที่มียี่ห้อเดียวกัน ยูนิกต์ยังถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งานในลักษณะที่มีผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกันที่เรียกว่า ระบบหลายผู้ใช้ (multiusers) และสามารถทำงานได้หลายๆๆงานในเวลาเดียวกันในลักษณะที่เรียกว่าระบบหลายภารกิจ (multitasking) ระบบปฎิบัติการยูนิกซ์จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย เพื่อใช้งานรวมกันหลายๆเครื่องพร้อมกัน
4.)ลีนุกต์ linux เป็นระบบปฎิบัติการที่พัฒนามาจากระบบยูนิกต์ เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่าย โปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนา ช่วยกันพัฒนา

5.) แมคอินทอช (macing System : os) เป็นระบบปฎิบัตฺการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอช ส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟิก ออกแบบและจัดแต่งเอกสาร นิยมใช้ในสำนักพิมพ์ ต่างๆ
นอกจากระบบปฎิการที่กล่าวมาแล้วยังมีระบบปฎิบัติการอีกมาก เช่นระบบปฎิบัติการที่ใช้ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานร่วมกันทำงานเป็นระบบ เช่น ระบบปฎิบัติการเน็ตแวร์ นอกจากนี้ยังมีระบบปฎิบัติการที่ใช้งานกับเฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นมาเพื่องานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ โดยส่วยใหญ่จะใช้ในห้องปฎิบัติการคอมพิวเตอร์ในสถาบันการศึกษา
ชนิดของระบบปฎิบัติการ จำแนกตามการใช้งานสามารถจำแนกออกเป็น3ชนิดด้วยกันคือ
1.ประเภทใช้งานเดียว (Single-tasking)ระบบปฎิบัติการประเภทนี้จะกำหนดคอมพิวเตอร์ให้ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น ใช้ในเครื่องขนาดเล็กอย่าง ไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฎิบัติการดอส เป็นต้น
2.ประเภทใช้หลายงาน (Multi-tasking)ระบบปฎิบัติการประเภทนี้สามารรถควบคุมการทำงานพร้อมกันได้หลายงานในขณะเดียวกัน ผู้ใช้สามารถใช้งานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียากัน เช่น ระบบปฎิบัติการ Windows 98ขึ้นไป และUNIX เป็นต้น
3.ประเภทใช้งานหลายคน (Multi-user) ในหนาวยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนานใหญ่ทำหน้าที่ประมวณผล ทำให้ขนาดขนาดหนึ่งมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน